วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในแต่ละ ยุคสมัย

ช่วงแรก 

ยุคสมัย มี 5 ยุค

อุปกรณ์ได้ถูกนำมาใช้เพื่อช่วยในการคำนจะเป็นในรูปแบบของไม้หรือติ้วเพื่อบันทึกการนับ กลไก Antikythera สืบมาจากจุดเริ่มต้นของศตวรรษที่หนึ่งก่อนคริศตศักราชโดยทั่วไปถูกพิจารณาว่าเป็น คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่ใช้กลไกที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกัน และกลไกที่ใช้เฟืองที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกัน อุปกรณ์ที่ใช้เฟืองทีสามารถเทียบได้ไม่ได้เกิดขึ้นใน ยุโรปจนถึงศตวรรษที่ 16 และมันไม่ได้เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งปี 1645 ที่เครื่องคิดเลขกลไกตัวแรกที่มีความสามารถในการดำเนินการคำนวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานทั้งสี่ได้รับการพัฒนา
คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้รีเลย์หรือวาล์ว เริ่มปรากฏให้เห็นในช่วงต้นปี ค.ศ. 1940 เครื่องกลไฟฟ้า Zuse Z3, เสร็จสมบูรณ์ใน ปี ค.ศ.1941, เป็นคอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมได้เครื่องแรกของโลก และตามมาตรฐานที่ทันสมัย เป็น​​หนึ่งในเครื่องแรกที่อาจถูกพิจารณาว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์แบบเครื่องหนึ่ง เครื่อง Colossus, ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อถอดรหัสข้อความภาษาเยอรมัน, เป็นคอมพิวเตอร์ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ตัวแรก แม้ว่ามันจะโปรแกรมได้ มันก็ไม่ได้ถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป มันถูกออกแบบมาเพื่อทำงานเพียงงานเดียว มันยังขาดความสามารถในการจัดเก็บโปรแกรมในหน่วยความจำอีกด้วย การเขียนโปรแกรม สามารถทำได้โดยใช้ปลั๊กและสวิทช์เพื่อเปลี่ยนแปลงการเดินสายไฟภายใน คอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้แบบดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยและได้รับการยอมรับตัวแรก คือ Manchester Small-Scale Experimental Machine (SSEM) ซึ่งเริ่มใช้โปรแกรมแรกในวันที่ 21 มิถุนายน 1948
การพัฒนาของทรานซิสเตอร์ในปลายปี ค.ศ. 1940 ที่ ห้องปฏิบัติการ Bell ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบรุ่นใหม่ใช้พลังงานที่ลดลงอย่างมาก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ตัวแรกชื่อ Ferranti Mark I ประกอบด้วย วาล์ว 4,050 ตัวและมี การใช้พลังงาน 25 กิโลวัตต์ เมื่อเปรียบเทียบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ตัวแรก, ที่ถูกพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัยแห่งแมนเชสเตอร์และเปิดใช้งานในเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1953, บริโภคพลังงานเพียง 150 วัตต์ในรุ่นสุดท้ายของมัน
โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นกรอบงานบูรณาการภายใต้เครือข่ายดิจิตอลทำงานอยู่ โครงสร้างพื้นฐานนี้ประกอบด้วย ศูนย์ข้อมูล, เครื่องคอมพิวเตอร์, เครือข่ายคอมพิวเตอร์, อุปกรณ์จัดการฐานข้อมูลและระบบการกำกับดูแล
ในเทคโนโลยีสารสนเทศและบนอินเทอร์เน็ต โครงสร้างพื้นฐานเป็นฮาร์ดแวร์ทางกายภาพที่ถูกใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายตัวและผู้ใช้หลายคน โครงสร้างพื้นฐานประกอบด้วยสื่อการส่งผ่าน, รวมทั้งสายโทรศัพท์, สายเคเบิลทีวี, ดาวเทียมและเสาอากาศ และยังมีเราเตอร์หลายตัว ที่ใช้ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเทคโนโลยีการส่งผ่านทั้งหลายที่แตกต่างกัน
ในการใช้งานบางครั้ง โครงสร้างพื้นฐานหมายถึงการเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ และไม่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆที่เชื่อมต่อกัน อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบางคน โครงสร้างพื้นฐานถูกมองว่าเป็นทุกอย่างที่สนับสนุนการไหลและการประมวลผลของข้อมูล
บริษัทโครงสร้างพื้นฐานมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาอินเทอร์เน็ต พวกเขามีอิทธิพลว่าที่ไหนบ้างต้องมีการเชื่อมโยง, ที่ไหนบ้างที่ข้อมูลจะต้องถูกทำให้สามารถเข้าถึงได้ และ จำนวนข้อมูลที่สามารถดำเนินการได้และทำได้รวดเร็วได้อย่างไร
ประวัติแรกๆ




เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคำนวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ได้นำแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกว่า ENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่งต่อมาได้ทำการปรับปรุงการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสำรวจสำมะโนประชากรประจำปี 


จึงนับได้ว่า UNIVAC เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเป็นการเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศในการควบคุมการทำงานของเครื่อง ซึ่งทำงานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง ยุคแรกของคอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ 


ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1

  • ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง
  • ทำงานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language) เท่านั้น
  • เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้งาน










มีการนำทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทำให้เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มีความรวดเร็วและแม่นยำมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทำให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสำหรับใช้กับเครื่อง

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์

  • ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนำ (Semi-Conductor) เป็นอุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทำงานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนต่ำ ทำงานเร็ว และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
  • เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจำวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core)
  • มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond : mS)
  • สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทำงานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)
  • เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใช้งานในยุคนี้


คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทำให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนำเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทำให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก




นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Systems : DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing)


 ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
  • ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
  • ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (Microsecond : mS) (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)
  • ทำงานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป





ยุคที่ 1 ระบบการประมวลผลข้อมูล (.. 1950 – 1960)

ยุคนี้เป็นยุคแรก ๆ ของการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน บทบาทของคอมพิวเตอร์ยังเป็นบทบาทที่ง่าย ๆ เป็นการนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยทางานประจาที่ใช้มนุษย์ปฏิบัติ เช่น การทาบัญชี การเก็บรักษาบันทึกต่างๆ และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ


ยุคที่ 2 ระบบสร้างรายงานสาหรับผู้บริหาร (..1960-1970)

หลังจากการนาเอาคอมพิวเตอร์มาประมวลผลงานรายการต่าง ๆ ได้มีการเพิ่มบทบาทของคอมพิวเตอร์มาช่วยงานของผู้บริหาร โดยเริ่มมีการใช้คอมพิวเตอร์สร้างรายงาน การปฏิบัติงานต่างๆ ที่มีการกาหนดรูปแบบรายละเอียดไว้ล่วงหน้า เป็นการสรุปผลการทางานสาหรับผู้บริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจ เช่น รายงานยอดขาย ประจาสัปดาห์ ประจาเดือน หรือประจาปี รายงานรายได้รายจ่ายขององค์กรหรือธุรกิจ เป็นต้น


ยุคที่ 3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (..1970-1980)
ต่อมาผู้บริหารพบว่ารายงานที่มีการกาหนดรายละเอียดไว้ก่อนเพียงอย่างเดียวนั้น ยังไม่
เพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร จึงเริ่มมีการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นมา เป็นระบบที่นามาช่วยในการจาลองเพื่อหาสารสนเทศที่จาเป็นสาหรับผู้บริหาร ซึ่งมักจะเป็นการคานวณหาค่าที่ต้องการแล้วนามาพิจารณาประกอบในการตัดสินใจต่าง ๆ บทบาทใหม่นี้เป็นการจัดหาสารสนเทศให้กับผู้บริหาร ณ เวลาที่ต้องการและเป็นแบบที่ผู้บริหารโต้ตอบกับระบบโดยตรงเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจนี้จะเป็นระบบเฉพาะสาหรับผู้บริหารแต่ละคนตามความต้องการและวิธีการตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ


ยุคที่ 4 บทบาทที่หลากหลาย (..1980-1990)

ระยะแรกสุด เป็นแบบผู้ใช้ปลายทางพัฒนาเอง (End User Computing) โดยผู้ใช้ระบบสารสนเทศใช้ระบบคอมพิวเตอร์และทรัพยากรที่มีอยู่ในการพัฒนาระบบสารสนเทศมาสนับสนุนงานที่ตัวเองต้องการแทนการรอคอยให้ฝ่ายพัฒนาระบบขององค์กรพัฒนาให้
ระยะที่สอง มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (EIS : Executive Information Systems) ขึ้นมา ระบบสารสนเทศ EIS นี้ทาให้ผู้บริหารระดับสูงได้รับข่าวสารเกี่ยวกับจุดวิกฤติขององค์กรที่ต้องการได้ ณ เวลามี่ตองการและสารสนเทศนั้นถูกจัดอย่ในรูปเเบบที่ต้องการ
ระยะที่สาม มีการพัฒนาระบบและการประยุกต์ระบบปัญญาดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) เป็นระบบที่นาเอาความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ของผู้รู้มาใส่ในคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับผู้ใช้ เมื่อผู้ใช้ต้องการปรึกษาก็จะสอบถามเข้าไปในระบบ ระบบจะไปค้นหาวิธีการต่างๆ ที่ผู้เชี่ยวชาญใช้ในการปฏิบัติต่อปัญหาต่างๆ พร้อมเหตุผล เเสดงออกมาให้ผู้ใช้นาไปประกอบการตัดสินใจ



ยุคที่ 5 ระบบเครือข่ายสากล (.. 1990-ปัจจุบัน)

ตั้งเเต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา พัฒนาการทางด้านการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เเบบเปิดที่เครือข่ายใด ๆ ในโลกก็สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบได้ เเละยังมีการนาเทคโนโลยีการเชื่อมต่อเเบบเดียวกันนี้ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร เรียกว่า อินทราเน็ต (Intranet) และระหว่างองค์กรที่เป็นเครือข่ายพันธมิตร เรียกว่า เอกซ์ทราเน็ต (Extranet) การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยผ่านทางเครือข่ายเป็นไปอย่างกว้างขวาง สะดวก รวดเร็ว เช่น พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) เป็นการซื้อขายสินค้าผ่านเครือข่าย ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การดาเนินธุรกิจธนาคารทางเครือข่าย หรือเเม้กระทั่งงานบริการจากฝ่ายรัฐบาล ที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-government) เป็นต้น
frameborder="0" allowfullscreen>

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น